ห้องเรียน 4.0: เมื่อครูเปลี่ยนห้องเรียนเป็นสนามแห่งการเรียนรู้
เขียนโดย ผู้ดูแลระบบ สสค. | 02/11/2559 14:16:30


เมื่อวันที่ 24-27 ตุลาคม 2559 สสค. ร่วมกับ องค์การโออีซีดี สพฐ. สสวท. มูลนิธิยุวสถิรคุณ ม.ธรรมศาสตร์ และม.ศรีปทุม ได้ร่วมกันจัด “การอบรมเชิงปฏิบัติการการเตรีย
โครงการริเริ่มต้นจากความต้องกา
ด้วยเหตุนี้องค์การโออีซีดีจึงมี

โดยผลจากงานวิจัยในประเทศไทยในปี
ติดอาวุธครูและห้องเรียน 4.0
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ 4 วัน มุ่งที่จะสร้าง “วิทยากรแกนนำ” ซึ่งเปรียบเสมือน “ผู้นำการเปลี่ยนแปลง” (Change Agents) เพื่อเปลี่ยนห้องเรียนเป็นสนามแ
เมื่อครูไม่ได้มีหน้าที่สอน
“หน้าที่ของครูในห้องเรียน 4.0 ไม่ใช่การสอน ส่งต่อเพียงข้อมูลความรู้ แต่คือการหล่อหลอมให้เกิด “ทักษะ” ที่คงอยู่และมีพัฒนาการเกิดขึ้น
“มาอบรมครั้งนี้ อยากได้ความรู้นำไปพัฒนาการเรีย
“เราอยากให้เด็กได้รับความรู้โด

ผมมีตัวอย่างกิจกรรมและเทคนิคที่โออีซีดีถ่ายทอดให้ครูไทยที่อยา
· 7 หลักการเรียนรู้ที่ดี ของโออีซีดี
หนึ่งในหลักการที่ Mr.Paul Collard วิทยากรผู้เชี่ยวชาญจากโออีซีดี
· กิจกรรมเปลี่ยนบทบาทครูเป็นผู้เ
เมื่อครูได้ลองสวมบทบาทเป็นผู้เ

· “Spidergram” กิจกรรมประเมินทักษะความคิดสร้างสรรค์และการคิดวิเคราะห์ของตนเองและเพื่อน
หนึ่งในกิจกรรมที่ครูทุกคนต้องผ่าน คือ “Spidergram” หรือกิจกรรมการประเมินตัวเอง ทั้งในด้านความคิดสร้างสรรค์และการคิดวิเคราะห์ โดยครูทุกคนจะต้องพิจารณาประเมินด้วยเครื่องมือของโออีซีดีที่เรียกว่า Creativity and Critical Thinking Rubrics แล้วนำมาติดบนใยแมงมุมจับกลุ่มแลกเปลี่ยนกับเพื่อนครูเพื่อพูดคุยกันว่า “ทำไมเราถึงประเมินตัวเองไปแบบนั้น” และเมื่อเปรียบเทียบกับที่คนอื่นคิดมันคล้ายหรือต่างกัน
“การประเมิน เราประเมินด้วยความรู้สึก มุมมองที่เราคิดกับตัวเอง ถึงแม้สุดท้ายคำอธิบายของเรากับเพื่อนจะเหมือนกันแล้วเราให้คะแนนไม่เท่ากัน แต่ก็ไม่ได้รู้สึกว่าอยากจะเปลี่ยน” การได้หันกลับมามองตัวเองและได้ “ทัก” ตัวเองบ้างว่าเรายังขาดอะไร ทำให้มองเห็นว่าสิ่งที่ต้องพัฒนาเพิ่มคืออะไร
· เมื่อมองไปยังจุดหมายใหม่ มุมมองต่อโลกก็ต่างไป
เย็นของวันที่ 3 ของการอบรม ระหว่างที่ครูรับประทานอาหารเย็น Prof. Todd และคณะนักวิจัยจากฝรั่งเศสได้นำเสนอผลงานวิชาการและตัวอย่างของห้องเรียนจากหลายประเทศทั่วโลกที่หันมาให้ความสำคัญเกี่ยวกับการพัฒนา “ทักษะ” มากกว่า “เนื้อหา” โดยเฉพาะทักษะ“ความคิดสร้างสรรค์” ที่เทคโนโลยีสมัยใหม่ยังไม่สามารถทำหน้าที่แทนมนุษย์ได้ จึงเป็นทักษะที่หลายประเทศทั่วโลกลงทุนในการวิจัยพัฒนากระบวนการเรียนการสอนที่จะช่วยส่งเสริมและประเมินทักษะเหล่านี้ให้ได้อย่างมีประสิทธิผลมากที่สุด เพื่อนำไปขยายผลเชิงนโยบายในการกำหนดงบประมาณการลงทุนด้านการศึกษาและแรงจูงใจในการเพิ่มผลตอบแทนของครูเพื่อให้การลงทุนด้านการศึกษาพุ่งตรงไปสู่การพัฒนาทักษะและผลลัพธ์ในการพัฒนากำลังคนที่เป็นที่ต้องการของประเทศอย่างเต็มที่

นั่นเป็นเพียงบางกิจกรรมในการอบรมครั้งนี้ มนุษย์ทุกคนเกิดมาบนพื้นฐานของการสนใจใคร่รู้และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ตลอด 4 วันของการก่อการเปลี่ยนแปลงทัศนคติที่ครูมีต่อการเรียนรู้จึงเป็นความสนุกสนานและผ่อนคลายของครูทุกคน
การเปลี่ยนห้องเรียนเป็นสนามแห่งการเรียนรู้จึงไม่ใช่การ “ใส่ภาระเพิ่มให้คุณครู” แต่คือการเปิดโอกาสให้ครูได้ย้อนกลับเข้าไป “สำรวจตนเอง” สิ่งเดิมที่มีและเป็นสิ่งดีที่เราอาจหลงลืมไปเพราะภาระงานที่มากมายทุกวัน
ครูและศึกษานิเทศก์กว่า 50 คนที่ผ่านการอบรมนี้จะกลายเป็น “ผู้นำการเปลี่ยนแปลง” เพื่อไปขยายผลการเปลี่ยนแปลงห้องเรียนใหม่นี้แก่ครูในอีก 110 โรงเรียนทั่วประเทศต่อไป ไม่ใช่เพื่อรองรับการสอบ PISA ในอีก 5 ปีข้างหน้าเท่านั้น แต่เพื่ออนาคตของเด็กเยาวชนไทยทุกคนในยุค Thailand 4.0
คุณครูพร้อมที่จะเปลี่ยนห้องเรียนสู่สนามแห่งการเรียนรู้ร่วมกันกับพวกเราแล้วหรือยังครับ? สำหรับสมาชิกที่สนใจกิจกรรมและเทคนิคที่โออีซีดีถ่ายทอดดังกล่าว สามารถติดตามข้อมูลได้ที่ “คลังความรู้การเปลี่ยนห้องเรียนเป็นสนามแห่งการเรียนรู้”
จำนวนผู้เข้าชม 29856 คน | จำนวนโหวต 1 ครั้ง
Creative Common License Version 3.0
ผลงานนี้ อยู่ภายใต้ สัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ต้นฉบับ.ข้อมูลทั้งหมดในเว็บไซต์สสค. อนุญาตให้เผยแพร่และแจกจ่ายโดยเสรี ซึ่งผู้นำไปใช้ไม่จำเป็นต้องติดต่อจากทางสสค. แต่อย่างใด แต่จำเป็นจะต้องอ้างอิงแหล่งที่มาว่ามาจากสสค.
ความคิดเห็น
กรุณาเข้าสู่ระบบก่อนแสดงความคิดเห็น
ท่านที่ยังไม่ได้เป็นสมาชิก สสค. โลกแห่งการเรียนรู้ออนไลน์รอคุณอยู่ คลิกที่นี่ เพื่อสมัครสมาชิก สสค.